บทความ

สายพานลำเลียงและ รถ agv

รูปภาพ
  สายพานลำเลียง      สายายพานลำเลียงเป็นส่วนประกอบที่ทนทานและเชื่อถือได้ซึ่งใช้ในการ จำหน่าย และคลังสินค้าแบบอัตโนมัติ ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกในการผลิตและการผลิต  เมื่อใช้ร่วมกับอุปกรณ์ขนย้ายพาเลทที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ จะช่วยให้การ ขายปลีก ขายส่ง และ การ กระจายการ ผลิต   มีประสิทธิภาพมาก ขึ้น  ถือเป็นระบบประหยัดแรงงานที่ช่วยให้ปริมาณมากสามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างรวดเร็วผ่านกระบวนการ ทำให้บริษัทสามารถจัด ส่ง หรือรับปริมาณที่มากขึ้นด้วยพื้นที่จัดเก็บที่เล็กลงและ ด้วย  ค่าแรง สายพานลำเลียงเป็นสายพานลำเลียงแบบขับเคลื่อนที่ใช้กันมากที่สุด เนื่องจากเป็นสายพานลำเลียงอเนกประสงค์และราคาถูกที่สุด  [1] ผลิตภัณฑ์ถูกลำเลียงโดยตรงบนสายพานเพื่อให้สามารถขนย้ายวัตถุที่มีรูปร่างปกติและรูปร่างไม่ปกติ ทั้งขนาดใหญ่หรือเล็ก เบาและหนัก ได้สำเร็จ  สายพานลำเลียงยังผลิตขึ้นด้วยส่วนโค้งที่ใช้ลูกกลิ้งเรียวและสายพานโค้งเพื่อลำเลียงผลิตภัณฑ์รอบมุม  ระบบสายพานลำเลียง เหล่านี้ มักใช้ในสำนักงานคัดแยกไปรษณีย์และ ระบบจัดการสัมภาระที่ สนามบิน ระบบสายพานลำเลียงมีกี่ประเภท หากกล่าวถึงระบบสายพานลำเลียงจะถูกแบ่งออกเป็น 4 ปร

สมาชิกในห้องเรียนไฟฟ้า ห้องA

สมาชิกในชิกในห้อง A  000                      อาจารย์ ธภัทร        ชัยชูโชค                                         อาจารย์ปาล์ม 001                      นาย    สุรพิชญ์ ศรีสุวรรณ                                                  ชาย 002                      นาย    สัณหวัช เพ็ชรสวัสดิ์                                                 โจ 004                      นาย    อาดีนัน โสธามาต                                                   ดีนจอ 005                      นาย นัฐกิตย์ อ่อนยัง                                                        ปิน 006                      นาย ปฏิพัทธ์ หนูน้อย                                                       อิ้งค์ 007                      นาย บัสซัมร์ เตะมัน                                                        บัสซัม 008                      นาย ศุภกฤต อุทัยพันธ์                                                     อาร์ม 009                      นาย   ณัฐพงศ์ ทองพิมพ์                                                    แบงค์ 010         

วัตกรรมหุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม

รูปภาพ
  ความสำคัญของนวัตกรรมหุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม ประเทศไทยเป็นประเทศที่มี อุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนึ่งในการส่งออกสำคัญ นั่นทำให้โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ต้องการคนงานจำนวนมาก ทว่าด้วยปัญหาด้านการขาดแคลนแรงงาน และงานบางประเภทมีการทำงานซ้ำซ้อนกัน หรืองานเสี่ยงและอันตราย นวัตกรรมหุ่นยนต์ที่สามารถทำงานอย่างต่อเนื่อง มีความแม่นยำ และรวดเร็วกว่ามนุษย์ อีกทั้งยังอดทนต่อสภาพแวดล้อ ม จึงถูกนำมาใช้แทนที่ และให้มนุษย์เป็นผู้ควบคุม แทน 1. หุ่นยนต์อเนกประสงค์ หุ่นยนต์อเนกประสงค์ในโรงงานโดยส่วนมากจะถูกพัฒนามาเป็น “แขน” หุ่นยนต์เป็นหลัก ทั้งเพื่อหยิบจับส่งต่องานได้อย่างไหลลื่นแล้ว ยังสามารถติดตั้งอุปกรณ์เพื่อทำงานอื่นๆ เช่น การประกอบชิ้นงานละเอียด งานตรวจสอบต่างๆ 2.หุ่นยนต์เชื่อม หนึ่งในหุ่นยนต์สำคัญในอุตสาหกรรมการผลิตของไทย เนื่องจากอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์มีการใช้หุ่นยนต์ประเภทนี้สูง โดยหุ่นยนต์เชื่อมจะมีลักษณะเป็นแขนหุ่นที่มีส่วนปลายเป็นหัวเชื่อมเหล็ก มักทำงานร่วมกับระบบสายพานที่คอยส่งวัสดุเข้ามาในระยะ แขนหุ่นจะทำการเชื่อมวัสดุตามจุดต่างๆ โดยอัตโนมัติตามที่มีการตั้งค่าไว้

ชนิดเครื่องจักร

รูปภาพ
                                                                                       เครื่องจักร NC            NC   ย่อมาจาก  Numerical Control  หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง  NC  ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม  NC.  ระบบ  NC  ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1950  ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ  NC  จะถูกแทนที่ด้วยระบบ  CNC  เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ  NC  ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน  อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย  NC   ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว เครื่องจักร CNC นับตั้งแต่เครื่องจักร CNC (Computer Numerically Controlled) ขึ้นมามีบทตั้งแต่ปีค.ศ. 1960 เป็นต้นมา และกลายเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ จนมีการผลิตและพัฒนาออกมาใช้กันอย่างกว้างขวางหลากหลาย ในงานด้านต่างๆ ซึ่งในบทความนี้จะขอสรุปเครื่องจักร CNC ประเภทต่าง ๆ ที่ถูกนำมาใช้ในกระบวนการผลิต   เครื่องกลึงซีเอนซี ( CNC Machine Lathe  ) สำหรับกลึงงานประเภทที่มีรูปทรงกระบอก 2 มิติ